วันอังคารที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2552

DHT ครั้งที่11-15/09/2552

Sorting
-การเรียงลำดับแบบเร็ว (quick sort)
-การเรียงลำดับแบบแทรก (insertion sort)
-การเรียงลำดับแบบฐาน (radix sort)
เป็นการเรียงลำดับโดยการพิจารณาข้อมูลทีละหลัก
1. เริ่มพิจารณาจากหลักที่มีค่าน้อยที่สุดก่อน นั่นคือถ้าข้อมูลเป็นเลขจำนวนเต็มจะพิจารณาหลักหน่วยก่อน
2. การจัดเรียงจะนำข้อมูลเข้ามาทีละตัว แล้วนำไปเก็บไว้ที่ซึ่งจัดไว้สำหรับค่านั้น เป็นกลุ่ม ๆตามลำดับการเข้ามา
3. ในแต่ละรอบเมื่อจัดกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ให้รวบรวมข้อมูลจากทุกกลุ่มเข้าด้วยกัน โดยเริ่มเรียงจากกลุ่มที่มีค่าน้อยที่สุดก่อนแล้วเรียงไปเรื่อย ๆ จนหมดทุกกลุ่ม
4. ในรอบต่อไปนำข้อมูลทั้งหมดที่ได้จัดเรียงในหลักหน่วยเรียบร้อยแล้วมาพิจารณาจัดเรียงในหลักสิบต่อไป ทำเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งครบทุกหลักจะได้ข้อมูลที่เรียงลำดับจากน้อยไปมากตามต้องการ
เรื่อง ตาราง แฮช (Hash Table)
การชนกันของข้อมูล (Collision)
การที่แทรกคีย์ในตาราง ที่จัดเก็บนั้นมีโอกาสที่คีย์ที่ถูกสร้างจากฟังก์ชัน ในช่องเดียวกันอย่างไรก็ตามการเกิดการชนกันก็ยังคงต้องมีอย่างน้อยหนึ่งครั้ง
การแก้ไขปัญหาชนกันของข้อมูล แบบห่วงโซ่(Chaining)
1. กรณีที่เลวร้ายที่สุด ในการแทรกข้อมูลคือ
2. การลบสมาชิก สามารถทำได้ด้วยเวลาที่น้อยที่สุดของ
วิธีการสร้างฟังก์ชันแฮช(Method for Creating Function)
1.วิธีการหาร (The Division Method)
2.วิธีการคูณ(The Multiplication Method)
3.วิธีทั่วไป (Universal hashing)
เทคนิคลำดับของการตรวจสอบ
1. การตรวจสอบเชิงเส้น (Linear Probing)
2.การตรวจสอบด้วยสมการกำลังสอง(Quadratic Probing)
3. การสร้างฟังก์ชันแฮชแบบสองเท่า(Double Hashing)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น